1.“รถไฟ” ในที่นี้เป็นการใช้ภาพพจน์ประเภทใด
- อุปลักษณ์
- สัญลักษณ์
- บุคคลวัต
- อติพจน์
2.“เด็กน้อย” เป็นคนอย่างไร
- ช่างจินตนาการ
- โหดเหี้ยมอำมหิต
- ร่ำรวย
- ไม่ระมัดระวัง
- ความฝันกับจินตนาการ
- ความยากจนกับความฝัน
- ความยากจนกับจินตนาการ
- ความยากจนกับความไม่ระมัดระวัง
- สัทพจน์
- อุปลักษณ์
- สัญลักษณ์
- บุคคลวัต
เขียนคนด้วยคนใหม่ เขียนหัวใจด้วยไมตรี
เขียนปากด้วยพจี สุจริตจำนรรจา
เขียนสมองและสองมือ ด้วยซื่อสัตย์และศรัทธา
มุ่งมั่นและปัญญา มาเถิดมามาช่วยกัน
5.บทประพันธ์ข้างต้นเป็นสารประเภทใดเขียนปากด้วยพจี สุจริตจำนรรจา
เขียนสมองและสองมือ ด้วยซื่อสัตย์และศรัทธา
มุ่งมั่นและปัญญา มาเถิดมามาช่วยกัน
- ชวนเชื่อ
- โน้มน้าว
- ให้เหตุผล
- ให้ความรู้
- โลกสวยด้วยมือเรา
- การพัฒนาตนเอง
- สามัคคีคือพลัง
- ปัญญาประดุจดังอาวุธ
หยุดประเดี๋ยวได้ไหมพายุร้าย หยุดส่งสายสุนีบาตมาข่มขู่
กัมปนาทกราดเกรี้ยวกันเกรียวกรู เพื่อสักครู่เจ้าจะหลั่งซึ่งฝนริน
เติมความรักสักหน่อยนะหัวใจ เติมความหวังไกลอยู่ให้สิ้น
ให้หยัดอยู่คู่ท้าเถื่อนธรนินทร์ เพื่อแผ่นดินจะงดงามด้วยความรัก
7.คำประพันธ์ข้างต้นไม่ปรากฏลักษณะการแต่งในข้อใดกัมปนาทกราดเกรี้ยวกันเกรียวกรู เพื่อสักครู่เจ้าจะหลั่งซึ่งฝนริน
เติมความรักสักหน่อยนะหัวใจ เติมความหวังไกลอยู่ให้สิ้น
ให้หยัดอยู่คู่ท้าเถื่อนธรนินทร์ เพื่อแผ่นดินจะงดงามด้วยความรัก
- เล่นสัมผัสสระและสัมผัสอักษร
- เล่นคำพ้องความหมาย
- ใช้สัญลักษณ์
- ซ้ำคำย้ำความหมาย
- ให้มีความอดทน
- ให้มองโลกในแง่ดี
- ให้มีอุดมการณ์
- ให้กำลังใจ
เป็นสร้อยโสภิศพ้น อุปรมา
โสรมสรวงศิรธิรางค์ เวี่ยไว้
จงคงคู่กัลปา ยืนโยค
หายแผ่นดินฟ้าไหม้ อย่าหาย ฯ
9.ข้อใดไม่ใช่ลักษณะเด่นของคำประพันธ์ข้างต้นโสรมสรวงศิรธิรางค์ เวี่ยไว้
จงคงคู่กัลปา ยืนโยค
หายแผ่นดินฟ้าไหม้ อย่าหาย ฯ
- การใช้อติพจน์
- การใช้อุปลักษณ์
- การใช้คำอลังการ
- การใช้อุปมา
- แสดงความสำคัญของบทกวี
- แสดงความยิ่งใหญ่ของบทกวี
- แสดงความสามารถของกวี
- แสดงความรู้สึกของกวี
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น